"ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร" คุณได้ทำหน้าที่ของคุณ ในการต่อสู้บนสนามประชาธิปไตย
(ภายใต้กติกาของศัตรู) อย่างสมบูรณ์แบบแล้ว
ต้องขึ้นศาล 26 ครั้งในเวลา 3 ปี
การที่ต้องขึ้นศาล 26 ครั้งในระยะเวลากว่า 3 ปีเต็ม ถือได้ว่า ได้ยืนบนสังเวียนนี้ จนครบยกแล้ว แต่การเดินออกจากเวที โดยไม่รอคำตัดสินของศัตรู ก็ถือว่าเป็นการแสดงจุดยืนที่ถูกต้องแล้ว เพราะคุณได้ยืนหยัดต่อสู้ในกระบวนการยุติธรรมอย่างสมบุรณ์แบบแล้ว เพียงเมื่อเห็นว่า มันไม่มีความยุติธรรมอย่างแน่นอน คุณก็ไม่ขอยอมรับความ"อยุติธรรม" เท่านั้น
นี่จุดยืนที่สง่างาม
นี่คือจุดยืนที่สง่างาม ของการคุกเข่าต่อสู้ และเมื่อถึงเวลา คุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตรก็ หายไป จากการกักขัง ในกะลา ก็เท่านั้นเอง.....
ขอคารวะในจิตวิญญาณของคุณ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร......
แรงดลใจสืบเนื่องมาจาก งานเขียนด้านล่าง
หลายคนสงสัยว่า "ถ้าจะหนีทำไมไม่ไปตั้งนานแล้ว?" โบว์เชื่อว่าสำหรับคนที่เชื่อมั่นในความบริสุทธิ์ของตัวเอง การได้อยู่สู้คดีจนถึงที่สุดถึงวันที่ได้อ่านคำแถลงปิดคดีด้วยตนเองอย่างสง่างามภายใต้บริบทแห่งความอยุติธรรม น่าจะมีความสำคัญค่ะ
คุณยิ่งลักษณ์ได้ทำหน้าที่ของเธออย่างดีที่สุดแล้ว การเดินเข้าคุกภายใต้อำนาจเผด็จการไม่ใช่หน้าที่ เช่นเดียวกัน ประชาชนผู้สนับสนุนคุณยิ่งลักษณ์ก็ได้ทำสิ่งที่ตั้งใจจะทำ ให้กำลังใจกันจนวันสุดท้ายอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุดแล้ว
ทุกคนได้รับความเคารพจากเรา
>>>>>>>>>>>>>>
ย้อนรอยคดี
>>>>>>>>>>>>>>
ย้อนรอยคดี
ย้อนทำความเข้าใจ ‘คดีจำนำข้าว’
ก่อนจะถึงวันพิพากษา ‘ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร’
.
วันนี้ เป็นวันนัดไต่สวนพยานปากสุดท้ายใน ‘คดีจำนำข้าว’ ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง โดยสิ่งที่หลายๆ คนจับตา ไม่ใช่เนื้อหาของคดีในวันนี้ แต่เป็นการนัดวันอ่าน ‘คำพิพากษา’ ที่จะชี้ชะตากรรมของอดีตนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
.
คดีนี้ใช้เวลาทำนานถึง 5 ปี หลายคนที่ไม่ได้ติดตามข่าวตลอด ก็อาจจะตกๆ หล่นๆ ข้อเท็จจริงบางประการไปบ้าง The MATTER จึงขออาสาพาทุกคนย้อนอดีต เพื่อทำความเข้าใจคดีประวัติศาสตร์นี้ จะได้ลุ้นกันถูกว่าอนาคตของของอดีตนายกฯหญิง วัย 50 ปี น่าจะเป็นอย่างไรต่อไป
.
คดีจำนำข้าว เริ่มต้นขึ้นเมื่อปี 2555 จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจของ ส.ส.ฝ่ายค้าน แต่เวลานั้นจุดโฟกัสจะไปอยู่ที่การทุจริตในโครงการ โดยเฉพาะการขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ (จีทูจี) ส่วนยิ่งลักษณ์แค่ติดร่างแหไปด้วย ในฐานะผู้นำรัฐบาล
.
แต่ทำไปทำมาคดีของยิ่งลักษณ์กลับแซงหน้าคดีจีทูจี โดยช่วงต้นปี 2557 ป.ป.ช. ใช้เวลาเพียง 21 วันหลังตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวน ก่อนจะมีมติแจ้งข้อกล่าวหา แล้วก็ใช้เวลาเพียง 5 เดือนหลังจากนั้น ชี้มูลความผิดทางอาญาแก่อดีตนายกฯ (ส่วนคดีจีทูจี ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด ต้นปี 2558) นำมาสู่คดีที่ศาลฎีกาฯ กำลังพิจารณาอยู่ทุกวันนี้
.
คู่ขนานกัน ยิ่งลักษณ์ยังถูก สนช. ลงมติถอดถอนออกจากตำแหน่ง ด้วยคะแนนเสียง 190:18 ส่งผลให้จะไม่สามารถกลับมาเป็นนายกฯ หรือดำรงตำแหน่งใดๆทางการเมืองได้อีก นอกจากนี้ ยังถูกกระทรวงการคลังเรียกค่าเสียหายจากโครงการจำนำข้าวเป็นเงินถึง 35,717 ล้านบาท
.
ที่ผ่านมา นอกจากการนำพยานหลักฐานเข้าหักล้างข้อกล่าวหาในชั้นศาล อดีตผู้นำหญิงพยายามใช้สารพัด ‘เทคนิคทางกฎหมาย’ ในการต่อสู้คดี ซึ่งแม้จะไม่ประสบความสำเร็จมากนัก แต่ก็ยังมีความพยายาม ‘เฮือกสุดท้าย’ ด้วยการขอให้ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า กฎหมายวิธีการพิจารณาคดีในศาลฎีกาฯ ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ หรือไม่ (ล่าสุด ศาลยกคำขอนี้แล้ว)
.
'เดิมพัน' ของยิ่งลักษณ์ในคดีนี้ คือโทษจำคุก 10 ปี จากข้อกล่าวหาว่าเธอกระทำผิด ฐาน ‘ปล่อยปละละเลยให้เกิดการทุจริต’ อันเป็นการฝ่าฝืนประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 และกฎหมาย ป.ป.ช. มาตรา 123/1 วรรคสี่ ตามลำดับ
.
ในวันครบรอบวันเกิดปีที่ 50 เมื่อวันที่ 21 มิ.ย. ที่ผ่านมา ยิ่งลักษณ์ร่ำไห้ระหว่างให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนที่บ้านพักส่วนตัว พร้อมกับเปรยเป็นนัยว่า “หวังว่าหลังวันเกิดจะมีสิ่งที่ดีเข้ามาบ้าง และหวังให้ปีหน้า จะมีโอกาสกลับมาทำบุญที่นี่อีกครั้ง”
.
อีกไม่นาน เราจะได้รู้กันว่า ยิ่งลักษณ์จะได้ฉลองวันเกิดปีที่ 51 นอกเรือนจำ หรือไม่
.
[ หมายเหตุ: ศาลได้นัดอ่านคำพิพากษาคดีนี้ ในวันที่ 25 ส.ค. 2560 ]
.
ไทม์ไลน์คดีจำนำข้าวของ น.ส.ยิ่งลักษณ์
.
ปี 2555
- ปลายปี ส.ส.ฝ่ายค้านอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล หนึ่งในประเด็นสำคัญคือการทุจริตในโครงการรับจำนำข้าว โดยเฉพาะเรื่องการขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ (จีทูจี)
.
ปี 2556
- กลางปี ป.ป.ช.ตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวนคดีจำนำข้าว โดยมี ‘กล้านรงค์ จันทิก’ เป็นประธาน ก่อนจะเปลี่ยนเป็น ‘วิชา มหาคุณ’ ในเวลาต่อมา
.
ปี 2557
- 28 ม.ค. ป.ป.ช.ตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวน ‘ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร’ นายกรัฐมนตรี ในคดีจำนำข้าว และใช้เวลาเพียง 21 วัน ก่อนมีมติแจ้งข้อกล่าวหา
- 07 พ.ค. ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยิ่งลักษณ์พ้นจากตำแหน่งนายกฯ จากกรณีโยกย้ายถวิล เปลี่ยนศรี พ้นตำแหน่งเลขาธิการ สมช.
- 08 พ.ค. ป.ป.ช. มีมติเอกฉันท์ 7:0 ชี้มูลยิ่งลักษณ์ ในคดีจำนำข้าว (กรณีถอดถอน)
- 22 พ.ค. คสช. รัฐประหาร
- 17 ก.ค. ป.ป.ช. มีมติเอกฉันท์ 7:0 ชี้มูลยิ่งลักษณ์ ในคดีจำนำข้าว (กรณีอาญา)
.
ปี 2558
- 23 ม.ค. สนช. มีมติ 190:18 ถอดถอนยิ่งลักษณ์ ตัดสิทธิดำรงตำแหน่งทางการเมืองใดๆ เป็นเวลา 5 ปี
- 12 ก.พ. ป.ป.ช. ทำหนังสือถึงกระทรวงการคลัง ให้เรียกค่าเสียหายจากยิ่งลักษณ์ จากโครงการรับจำนำข้าว
- 19 ก.พ. อัยการสูงสุดยื่นฟ้องยิ่งลักษณ์ต่อ ‘ศาลฎีกาแผนกอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง’ ให้เอาผิดฐานปล่อยปละละเลยให้เกิดการทุจริตในโครงการรับจำนำข้าว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 และกฎหมาย ป.ป.ช. มาตรา 123/1 วรรคสี่ มีอัตราโทษสูงสุด คือจำคุก 10 ปี
- 19 มี.ค. ศาลฎีกาฯ รับฟ้อง
- 19 พ.ค. ศาลฎีกาฯ เริ่มพิจารณาคดีครั้งแรก ให้ยิ่งลักษณ์มาศาลทุกครั้งในการไต่สวนพยานทั้งฝ่ายโจทก์-จำเลย รวม 21 ครั้ง (ต่อมา มีการขยายเวลาไต่สวนเป็น 26 ครั้ง) และให้ประกันตัวด้วยเงินสด 30 ล้านบาท
- กลางปี ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นคำร้องขอให้ศาลฎีกาฯ จำหน่ายคดีไว้ก่อน และขอให้ตัดพยานโจทก์ 23 ปาก แต่ศาลยกคำร้อง
- ปลายปี ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นฟ้องอัยการสูงสุด กรณีส่งฟ้องคดีจำนำข้าวต่อศาลฎีกาฯ แต่ศาลยกฟ้อง
.
ปี 2559
- กลางปี ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นฟ้องประธาน คกก.ตรวจสอบความรับผิดทางละเมิดจากโครงการรับจำนำข้าว
- 13 ต.ค. รมว.คลัง มีคำสั่งให้ยิ่งลักษณ์ ชดใช้ค่าเสียหายโครงการรับจำนำข้าว เป็นเงิน 35,717 ล้านบาท
- ปลายปี ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นฟ้อง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกฯ กรณีตั้ง คกก.ตรวจสอบความรับผิดทางละเมิดจากโครงการรับจำนำข้าว
.
ปี 2560
- 26 ม.ค. ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นฟ้องศาลปกครอง ขอให้เพิกถอนคำสั่งชดใช้ค่าเสียหาย 35,717 ล้านบาท
- 29 มิ.ย. ยิ่งลักษณ์ยื่นคำร้องขอให้ศาลฎีกาฯ ออกเดินเผชิญสืบที่โรงสีข้าว จ.อ่างทอง แต่ศาลยกคำร้อง
- 07 ก.ค. ยิ่งลักษณ์ยื่นคำร้องขอให้ศาลฎีกาฯ ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ากฎหมายวิธีพิจารณาคดีในศาลฎีกาฯ ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือไม่
- 21 ก.ค. การไต่สวนพยานปากสุดท้าย ในคดีจำนำข้าว ที่ยิ่งลักษณ์เป็นจำเลยเพียงคนเดียว
.
อ้างอิง
ก่อนจะถึงวันพิพากษา ‘ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร’
.
วันนี้ เป็นวันนัดไต่สวนพยานปากสุดท้ายใน ‘คดีจำนำข้าว’ ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง โดยสิ่งที่หลายๆ คนจับตา ไม่ใช่เนื้อหาของคดีในวันนี้ แต่เป็นการนัดวันอ่าน ‘คำพิพากษา’ ที่จะชี้ชะตากรรมของอดีตนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
.
คดีนี้ใช้เวลาทำนานถึง 5 ปี หลายคนที่ไม่ได้ติดตามข่าวตลอด ก็อาจจะตกๆ หล่นๆ ข้อเท็จจริงบางประการไปบ้าง The MATTER จึงขออาสาพาทุกคนย้อนอดีต เพื่อทำความเข้าใจคดีประวัติศาสตร์นี้ จะได้ลุ้นกันถูกว่าอนาคตของของอดีตนายกฯหญิง วัย 50 ปี น่าจะเป็นอย่างไรต่อไป
.
คดีจำนำข้าว เริ่มต้นขึ้นเมื่อปี 2555 จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจของ ส.ส.ฝ่ายค้าน แต่เวลานั้นจุดโฟกัสจะไปอยู่ที่การทุจริตในโครงการ โดยเฉพาะการขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ (จีทูจี) ส่วนยิ่งลักษณ์แค่ติดร่างแหไปด้วย ในฐานะผู้นำรัฐบาล
.
แต่ทำไปทำมาคดีของยิ่งลักษณ์กลับแซงหน้าคดีจีทูจี โดยช่วงต้นปี 2557 ป.ป.ช. ใช้เวลาเพียง 21 วันหลังตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวน ก่อนจะมีมติแจ้งข้อกล่าวหา แล้วก็ใช้เวลาเพียง 5 เดือนหลังจากนั้น ชี้มูลความผิดทางอาญาแก่อดีตนายกฯ (ส่วนคดีจีทูจี ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด ต้นปี 2558) นำมาสู่คดีที่ศาลฎีกาฯ กำลังพิจารณาอยู่ทุกวันนี้
.
คู่ขนานกัน ยิ่งลักษณ์ยังถูก สนช. ลงมติถอดถอนออกจากตำแหน่ง ด้วยคะแนนเสียง 190:18 ส่งผลให้จะไม่สามารถกลับมาเป็นนายกฯ หรือดำรงตำแหน่งใดๆทางการเมืองได้อีก นอกจากนี้ ยังถูกกระทรวงการคลังเรียกค่าเสียหายจากโครงการจำนำข้าวเป็นเงินถึง 35,717 ล้านบาท
.
ที่ผ่านมา นอกจากการนำพยานหลักฐานเข้าหักล้างข้อกล่าวหาในชั้นศาล อดีตผู้นำหญิงพยายามใช้สารพัด ‘เทคนิคทางกฎหมาย’ ในการต่อสู้คดี ซึ่งแม้จะไม่ประสบความสำเร็จมากนัก แต่ก็ยังมีความพยายาม ‘เฮือกสุดท้าย’ ด้วยการขอให้ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า กฎหมายวิธีการพิจารณาคดีในศาลฎีกาฯ ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ หรือไม่ (ล่าสุด ศาลยกคำขอนี้แล้ว)
.
'เดิมพัน' ของยิ่งลักษณ์ในคดีนี้ คือโทษจำคุก 10 ปี จากข้อกล่าวหาว่าเธอกระทำผิด ฐาน ‘ปล่อยปละละเลยให้เกิดการทุจริต’ อันเป็นการฝ่าฝืนประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 และกฎหมาย ป.ป.ช. มาตรา 123/1 วรรคสี่ ตามลำดับ
.
ในวันครบรอบวันเกิดปีที่ 50 เมื่อวันที่ 21 มิ.ย. ที่ผ่านมา ยิ่งลักษณ์ร่ำไห้ระหว่างให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนที่บ้านพักส่วนตัว พร้อมกับเปรยเป็นนัยว่า “หวังว่าหลังวันเกิดจะมีสิ่งที่ดีเข้ามาบ้าง และหวังให้ปีหน้า จะมีโอกาสกลับมาทำบุญที่นี่อีกครั้ง”
.
อีกไม่นาน เราจะได้รู้กันว่า ยิ่งลักษณ์จะได้ฉลองวันเกิดปีที่ 51 นอกเรือนจำ หรือไม่
.
[ หมายเหตุ: ศาลได้นัดอ่านคำพิพากษาคดีนี้ ในวันที่ 25 ส.ค. 2560 ]
.
ไทม์ไลน์คดีจำนำข้าวของ น.ส.ยิ่งลักษณ์
.
ปี 2555
- ปลายปี ส.ส.ฝ่ายค้านอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล หนึ่งในประเด็นสำคัญคือการทุจริตในโครงการรับจำนำข้าว โดยเฉพาะเรื่องการขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ (จีทูจี)
.
ปี 2556
- กลางปี ป.ป.ช.ตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวนคดีจำนำข้าว โดยมี ‘กล้านรงค์ จันทิก’ เป็นประธาน ก่อนจะเปลี่ยนเป็น ‘วิชา มหาคุณ’ ในเวลาต่อมา
.
ปี 2557
- 28 ม.ค. ป.ป.ช.ตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวน ‘ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร’ นายกรัฐมนตรี ในคดีจำนำข้าว และใช้เวลาเพียง 21 วัน ก่อนมีมติแจ้งข้อกล่าวหา
- 07 พ.ค. ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยิ่งลักษณ์พ้นจากตำแหน่งนายกฯ จากกรณีโยกย้ายถวิล เปลี่ยนศรี พ้นตำแหน่งเลขาธิการ สมช.
- 08 พ.ค. ป.ป.ช. มีมติเอกฉันท์ 7:0 ชี้มูลยิ่งลักษณ์ ในคดีจำนำข้าว (กรณีถอดถอน)
- 22 พ.ค. คสช. รัฐประหาร
- 17 ก.ค. ป.ป.ช. มีมติเอกฉันท์ 7:0 ชี้มูลยิ่งลักษณ์ ในคดีจำนำข้าว (กรณีอาญา)
.
ปี 2558
- 23 ม.ค. สนช. มีมติ 190:18 ถอดถอนยิ่งลักษณ์ ตัดสิทธิดำรงตำแหน่งทางการเมืองใดๆ เป็นเวลา 5 ปี
- 12 ก.พ. ป.ป.ช. ทำหนังสือถึงกระทรวงการคลัง ให้เรียกค่าเสียหายจากยิ่งลักษณ์ จากโครงการรับจำนำข้าว
- 19 ก.พ. อัยการสูงสุดยื่นฟ้องยิ่งลักษณ์ต่อ ‘ศาลฎีกาแผนกอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง’ ให้เอาผิดฐานปล่อยปละละเลยให้เกิดการทุจริตในโครงการรับจำนำข้าว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 และกฎหมาย ป.ป.ช. มาตรา 123/1 วรรคสี่ มีอัตราโทษสูงสุด คือจำคุก 10 ปี
- 19 มี.ค. ศาลฎีกาฯ รับฟ้อง
- 19 พ.ค. ศาลฎีกาฯ เริ่มพิจารณาคดีครั้งแรก ให้ยิ่งลักษณ์มาศาลทุกครั้งในการไต่สวนพยานทั้งฝ่ายโจทก์-จำเลย รวม 21 ครั้ง (ต่อมา มีการขยายเวลาไต่สวนเป็น 26 ครั้ง) และให้ประกันตัวด้วยเงินสด 30 ล้านบาท
- กลางปี ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นคำร้องขอให้ศาลฎีกาฯ จำหน่ายคดีไว้ก่อน และขอให้ตัดพยานโจทก์ 23 ปาก แต่ศาลยกคำร้อง
- ปลายปี ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นฟ้องอัยการสูงสุด กรณีส่งฟ้องคดีจำนำข้าวต่อศาลฎีกาฯ แต่ศาลยกฟ้อง
.
ปี 2559
- กลางปี ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นฟ้องประธาน คกก.ตรวจสอบความรับผิดทางละเมิดจากโครงการรับจำนำข้าว
- 13 ต.ค. รมว.คลัง มีคำสั่งให้ยิ่งลักษณ์ ชดใช้ค่าเสียหายโครงการรับจำนำข้าว เป็นเงิน 35,717 ล้านบาท
- ปลายปี ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นฟ้อง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกฯ กรณีตั้ง คกก.ตรวจสอบความรับผิดทางละเมิดจากโครงการรับจำนำข้าว
.
ปี 2560
- 26 ม.ค. ทนายยิ่งลักษณ์ยื่นฟ้องศาลปกครอง ขอให้เพิกถอนคำสั่งชดใช้ค่าเสียหาย 35,717 ล้านบาท
- 29 มิ.ย. ยิ่งลักษณ์ยื่นคำร้องขอให้ศาลฎีกาฯ ออกเดินเผชิญสืบที่โรงสีข้าว จ.อ่างทอง แต่ศาลยกคำร้อง
- 07 ก.ค. ยิ่งลักษณ์ยื่นคำร้องขอให้ศาลฎีกาฯ ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ากฎหมายวิธีพิจารณาคดีในศาลฎีกาฯ ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือไม่
- 21 ก.ค. การไต่สวนพยานปากสุดท้าย ในคดีจำนำข้าว ที่ยิ่งลักษณ์เป็นจำเลยเพียงคนเดียว
.
อ้างอิง
ขอบคุณ The Matter
>>>>>>>>>>>>>>>>
และงานเขียนของ วัฒนา เมืองสุข
❤️>>>>>>>>>>>>>>>>
และงานเขียนของ วัฒนา เมืองสุข
"โชคดีครับท่านนายก"
ผมไม่รู้สึกผิดหวังกับการที ่นายกยิ่งลักษณ์ไม่ได้มาฟัง คำพิพากษา หลายคนสอบถามว่าหากจะหลบหนี เหตุใดไม่หลบหนีแต่แรก ในฐานะนักการเมืองที่มาจากป ระชาชนด้วยกันผมพอคาดเดาได้ ว่า สิ่งที่นายกยิ่งลักษณ์พยายา มทำด้วยตัวเองตั้งแต่แรกจนว ินาทีสุดท้ายคือการนำเสนอข้ อเท็จจริงผ่านทุกช่องทางที่ ถูกเรียกว่า "กระบวนการยุติธรรม" ตั้งแต่การชี้แจงกับ ป.ป.ช. จากนั้นชี้แจงกับ สนช. ที่ถูกแต่งตั้งโดยเผด็จการแ ต่กลับมาถอดถอนท่านที่ประชาชน เป็นผู้เลือก ท้ายสุดคือการต่อสู้คดีในศา ลฎีกาฯ จนสิ้นสุดโดยการแถลงการณ์ด้ วยวาจาด้วยตัวเอง ทุกองค์กรที่ท่านต่อสู้เสมื อนเป็นช่องทางผ่าน เพื่อนำข้อเท็จจริงบอกกับปร ะชาชนที่พร้อมจะรับฟังการชี ้แจงของท่านว่า "ท่านเป็นผู้บริสุทธิ์"
ผมถือว่านายกยิ่งลักษณ์ได้ท ำหน้าที่ในฐานะนักการเมืองท ี่มาจากประชาชนสมบูรณ์แล้ว ส่วนภารกิจการต่อสู้เพื่อปร ะชาธิปไตยยังคงต้องเดินหน้า ต่อไป การไม่มีนายกยิ่งลักษณ์ไม่ไ ด้ทำให้เป้าหมายการต่อสู้ขอ งผมเปลี่ยนแปลง แต่โดยที่ทุกการต่อสู้ย่อมต ้องมีคนบาดเจ็บล้มตายเสมอ ดังนั้น ระหว่างการเดินทางไปสู่เป้า หมายเราอาจจะเหลือเพื่อนไม่ เท่าเดิม แต่ถ้าเรายังคงมีความเชื่อม ั่นและดำรงความมุ่งหมายเราจ ะไปสู่เป้าหมายร่วมกันได้ ขอเพียงพี่น้องประชาชนอย่าส ูญเสียความมั่นใจในชัยชนะ สำหรับผมยังเชื่อมั่นตลอดเว ลาว่า "เผด็จการไม่มีทางชนะประชาช น" วันนี้ผมขอส่งกำลังใจและควา มห่วงใยให้ท่านนายกยิ่งลักษ ณ์ จากนี้ไปท่านต้องส่งกำลังใจ ให้ผมบ้าง เพราะภารกิจการต่อสู้เพื่อน ำหลักนิติธรรมและประชาธิปไต ยที่สมบูรณ์ให้กับประชาชนยั งคงไม่เปลี่ยนแปลง "โชคดีครับท่านนายก"
วัฒนา เมืองสุข
พรรคเพื่อไทย
26 สิงหาคม 2560
ผมไม่รู้สึกผิดหวังกับการที
ผมถือว่านายกยิ่งลักษณ์ได้ท
วัฒนา เมืองสุข
พรรคเพื่อไทย
26 สิงหาคม 2560
EmoticonEmoticon